พายุไต้ฝุ่นเกย์ (อังกฤษ: Typhoon Gay) ถือเป็นพายุไต้ฝุ่นลูกแรกที่พัดเข้าสู่ประเทศไทย โดยเริ่มก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชั่นในอ่าวไทยตอนล่าง ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532
AR = SU/NO = SA.NE/KR = HA/VT = PL = MO วันสำคัญยิ่งของโลก ทุกข์ยากจากน้ำมหาศาล สูญเสียรุนแรง ยิ่งนัก
จากนั้นก็เคลื่อนตัวขึ้นเหนือและมีกำลังรุนแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน และพายุไต้ฝุ่นตามลำดับ โดยใช้เวลาเพียงแค่ 3 วัน วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 เวลา 08.30 น. พายุไต้ฝุ่นเกย์เคลื่อนเข้าสู่ภาคใต้ตอนบนด้วยความเร็วถึง 185 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งเป็นความเร็วของพายุไต้ฝุ่นในระดับ 3 ถล่ม อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ บางสะพานน้อย และบางสะพาน ก่อนขึ้นฝั่งที่อำเภอท่าแซะ และปะทิว จังหวัดชุมพรทำให้เกิดคลื่นพายุซัดฝั่งที่ อำเภอบางสะพานน้อย บางสะพาน ท่าแซะและ ปะทิว
MO เข้ากุม SA.NE, SU เข้ากุม PL มี ME เข้าที่ SU เดิม โดย AR = AS/VU.CH ภาพดาว
SU.PL.ME = AR/KR = ME.AD = HA/AP = MC/MO.SA.NE
MO.SA.NE = JU.VU.CH.CE = UR/VU.CH = UR/VT
MC/SU ขณะแห่งวันนี้ = KR = MA.PO/ZE = SA.NE.MO/VU.CH = CE/VT
SU/MO วันนี้ในเดือนนี้และยามนี้ในวันนี้ = AS = SA.NE.MO/AD = VU.CH/ME
SU/AR วันนี้ในโลก โลกวันนี้ สาธารณชนวันนี้ = VT = AD = SU.PL ซึ่ง SU เป็นคลัสเตอร์อยู่กับ PL.ME.CU
พายุเกย์เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกอย่างรวดเร็ว ผ่านประเทศพม่า ก่อนจะพัดออกสู่ทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย และอ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน พอถึงวันที่ 6 พฤศจิกายน ก็ทวีกำลังขึ้นใหม่อีกครั้ง พัดถล่มหมู่เกาะอันดามัน และเคลื่อนขึ้นสู่ชายฝั่งประเทศอินเดียในวันที่ 8 พฤศจิกายน ด้วยความรุนแรงสูงสุดระดับที่ 5 (สูงกว่า 250 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) และสลายตัวไปในวันที่ 10 พฤศจิกายน
พายุเกย์ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตไปถึง 446 คน บาดเจ็บ 154 คน บ้านเรือนเสียหาย 38,002 หลัง ประชาชนเดือดร้อน 153,472 คน เรือล่ม 391 ลำ ถนนเสียหาย 579 เส้น สะพาน 131 แห่ง ทำนบและฝาย 49 แห่ง โรงเรียนพัง 160 โรง วัด 93 วัด มัสยิด 6 แห่ง พื้นที่การเกษตร 80,900,105 ไร่ สัตว์เลี้ยงตาย 83,490 ตัว ประเมินความเสียหาย 11,257,265,265 บาท พายุไต้ฝุ่นเกย์ถือเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่สร้างความเสียหายให้กับประเทศไทยมากที่สุดในรอบ 27 ปี นับตั้งแต่พายุโซนร้อนแฮเรียตถล่มแหลมตะลุมพุก ในปีพ.ศ. 2505 เป็นพายุลูกเดียวในประวัติศาสตร์ที่พัดเข้าสู่ประเทศไทยในระดับไต้ฝุ่นและยังเป็นพายุที่มีความเร็วลมสูงสุดขณะขึ้นฝั่งเท่าที่เคยมีมาในคาบสมุทรมลายู
แหล่งข้อมูล:
|